พื้นที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินถล่ม - Open Government Data of Thailand
ขนาดตัวอักษร |    
พื้นที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินถล่ม
คะแนนความนิยม
องค์กร : กรมทรัพยากรธรณี
facebook   twiter

ข้อมูลแผนที่แสดงความอ่อนไหวต่อการเกิดแผ่นดินถล่มเป็นการประเมินเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพของการจำแนกปริมาณ (หรือพื้นที่) และการกระจายเชิงพื้นที่ของแผ่นดินถล่มที่มีอยู่หรืออาจเกิดขึ้นในพื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดแผ่นดินถล่ม ยังอาจรวมคำอธิบายของความเร็วและความรุนแรงของแผ่นดินถล่มที่มีอยู่หรือที่อาจเกิดขึ้น ความน่าจะเป็นที่อาจจะเกิดแผ่นดินถล่ม ซึ่งบอกชนิดของแผ่นดินถล่ม และตำแหน่งที่จะเกิด แบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับต่ำมาก ระดับต่ำ ระดับปานกลาง ระดับสูง และระดับสูงมาก รายละเอียดระดับความอ่อนไหวต่อการเกิดดินถล่ม (Landslide susceptibility levels) 1.ระดับต่ำมาก พื้นที่ระดับความอ่อนไหวดินถล่มต่ำมาก พื้นที่มีความลาดเอียงต่ำ มีเสถียรภาพความมั่นคงสูง มีโอกาสเกิดดินถล่มน้อยมาก These areas are assumed to be stable due to less evidence of landslide susceptibility and overall stable slope conditions. 2. ระดับต่ำ พื้นที่ระดับความอ่อนไหวดินถล่มต่ำ พื้นที่มีเสถียรภาพ ความมั่นคงและมีโอกาสเกิดดินถล่มน้อย แต่สามารถเกิดดินถล่มได้ในพื้นที่ชันที่เกิดจากขุดเจาะ เช่น การก่อสร้างถนน Areas in this zone appear conditionally stable showing fewer indications of landslide susceptibility. Landslide events are rarely possible but may occur at slopes, which are undercut, e.g. by road construction. 3. ระดับปานกลาง พื้นที่ระดับความอ่อนไหวดินถล่มปานกลาง ดินถล่มอาจเกิดขึ้นได้บ้างตามลักษณะของฤดูกาล โดยมีการกระตุ้นจากอิทธิพลภายนอก เช่น ฝนตกหนัก แผ่นดินไหว หรืออาจเกิดจากการเพิ่มความชันให้พื้นที่ เช่น การก่อสร้างถนน Landslide events may occasionally happen in these areas, either triggered by strong rainfall, earthquakes or caused by inadequate land use in steep slopes and by slope undercutting associated with road construction. 4. ระดับสูง พื้นที่ระดับความอ่อนไหวดินถล่มสูง และมีความเป็นไปได้ ในการเกิดดินถล่มใหม่ๆ หรือเกิดขึ้นซ้ำในพื้นที่ ดินถล่มเดิม พบการกระจายตัวมีความสัมพันธ์กับทางน้ำสายรอง และการตัดถนนผ่าน This zone defines areas with a high susceptibility. New landslide events may occur or older ones may be reactivated. The distribution is mainly linked to the flanks of the second order streams and road cuts. 5. ระดับสูงมาก พื้นที่ระดับความอ่อนไหวดินถล่มสูงมาก และมีความเป็นไปได้ในการเกิดดินถล่มในอนาคตบ่อยมากขึ้น และสามารถเกิดขึ้นซ้ำในพื้นที่ดินถล่มเดิม พบการกระจายตัวในพื้นที่มีความสูงชันใกล้กับแนวรอยเลื่อน This zone defines areas with a very high susceptibility. New landslide event may occur frequency or older ones may be reactivated. The distribution of the very high landslide susceptibility zones is predominantly in the steep areas adjoining the shear zone.

Data source cannot be displayed.
พื้นที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินถล่ม
มุมมอง :
Visualization
{{current_url}}?id={{cur_meta.id}}&is_fullscreen=1
ข้อมูลทรัพยากร : {{cur_meta.name}}
วันที่ปรับปรุงไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
วันที่สร้างไฟล์/ลิงก์ข้อมูลใน catalog
รูปแบบของไฟล์ชุดข้อมูล
รหัสทรัพยากรข้อมูล
รายละเอียด
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล
ชุดข้อมูลภูมิศาสตร์
มาตราส่วน
ความถูกต้องของตำแหน่ง
วันที่เริ่มต้นสร้าง
วันที่ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลล่าสุด
วันที่เผยแพร่ข้อมูล
ข้อมูลเพิ่มเติม
รหัสชุดข้อมูล 3c1c64c1-080e-40a4-9c3e-bc8dd182b015
คำสำคัญ ธรณีพิบัติภัย พื้นที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินถล่ม พื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดแผ่นดินถล่ม แผ่นดินถล่ม
ระดับในการเข้าถึงข้อมูล สาธารณะ
วันที่สร้าง metadata 4 มิถุนายน 2566
วันที่ปรับปรุง metadata 12 มีนาคม 2567
ประเภทชุดข้อมูล ข้อมูลภูมิสารสนเทศเชิงพื้นที่
ชื่อผู้ติดต่อ กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม
อีเมลผู้ติดต่อ goc.dmr@hotmail.com
วัตถุประสงค์ เพื่อการให้บริการประชาชน
หน่วยความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล ปี
ค่าความถี่ของการปรับปรุงข้อมูล (ความถี่น้อยที่สุด) 5
ขอบเขตเชิงภูมิศาสตร์หรือเชิงพื้นที่ ประเทศ
แหล่งที่มา สำรวจธรณีพิบัติภัยแผ่นดินถล่มระดับชุมชน (กรมทรัพยากรธรณี)
รูปแบบการเก็บข้อมูล
  • Database
  • CSV
  • Shapefile
หมวดหมู่ข้อมูลตามธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ข้อมูลสาธารณะ
สัญญาอนุญาต Creative Commons Attributions
เงื่อนไขในการเข้าถึงข้อมูล ไม่มี
URL ข้อมูลเพิ่มเติม http://gis.dmr.go.th/DMR-GIS/
ภาษาที่ใช้
  • ไทย
  • อังกฤษ
วันที่ปรับปรุงชุดข้อมูล (ทั้งหมดหรือบางส่วน) 2021-05-09
วันที่เผยแพร่ชุดข้อมูล 2021-05-28
ชุดข้อมูลภูมิศาสตร์ (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) ชั้นข้อมูลภาพแผนที่ภูมิประเทศ
มาตราส่วน (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) 1:4,000
ค่าพิกัดกรอบพื้นที่ด้านทิศตะวันตก (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) 97.21
ค่าพิกัดกรอบพื้นที่ด้านทิศตะวันออก (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) 105.62
ค่าพิกัดกรอบพื้นที่ด้านทิศเหนือ (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) 20.45
ค่าพิกัดกรอบพื้นที่ด้านทิศใต้ (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) 5.36
ความถูกต้องของตำแหน่ง (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) ไม่มี
เวลาอ้างอิง (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) ไม่มี
วันที่เผยแพร่ข้อมูล (สำหรับชุดข้อมูลภูมิศาสตร์สารสนเทศ) 2021-05-28
ชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสูง ไม่แสดง
ชุดข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลตำแหน่งที่เกิดร่อยรอยแผ่นดินถล่มในประเทศไทยตั้งแต่ปีพ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2562
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 มีนาคม 2567  
csv shp docx
ข้อมูลพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากดินถล่มน้ำป่าไหลหลาก และน้ำท่วมฉับพลัน โดยได้มาจากการประมวลผลด้วยแบบจำลอง
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 มีนาคม 2567  
csv shp docx api url
รายงานพร้อมแผนที่เสี่ยงภัยดินถล่มระดับชุมชน (รายตำบล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด : 12 กุมภาพันธ์ 2567  
csv pdf